โครงการ เสา ไฟ โซ ล่า เซลล์

ยะลา ข้ามไป จ. ปัตตานี ก็มีปัญหาคล้ายๆ กัน โดยชาวบ้านที่นั่นเล่าว่า เสาไฟโซลาร์เซลล์เสียทั้งหมู่บ้าน ใช้การไม่ได้ สอบถามเจ้าหน้าที่ก็อ้างว่าถูกขโมยแบตเตอรี่บ้าง สายไฟถูกขโมยบ้าง แต่ไม่รู้ว่าถูกขโมยจริงทุกจุดตามที่บอกหรือไม่ หรือเป็นการชำรุดเสียหายเพราะอุปกรณ์ไม่มีคุณภาพ แต่ที่แน่ๆ คือเสียทั้งหมด "มันไม่ได้เสียแค่ต้นสองต้น แต่มันเสียทั้งหมู่บ้าน เสียหมด แถวสะดาวา อ. ยะรัง ยาวเข้าไปทั้งสาย แถวข้างในเยอะมาก บางเสาตั้งแต่ติดตั้งมาก็ไม่เคยเห็นว่าสามารถใช้งานได้เลย ชาวบ้านเขาคุยกันเสาไฟทั้งหมด 100% ถ้าลงพื้นที่ไปสำรวจ จะพบเสียเยอะกว่าใช้ได้จริง" ชาวบ้านจาก จ. ปัตตานีกล่าว @@ ย้อนโครงการโซลาร์เซลล์พันล้าน ชำรุดกว่า 70% สำหรับโครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) ของ ศอ. ได้รับงบประมาณอุดหนุนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปลายปี 2557 ต่อเนื่องถึงปี 2559 เท่าที่ตรวจสอบพบจากเอกสาร มีทั้งสิ้น 6 โครงการด้วยกัน คือ 1. โครงการจัดซื้อพร้อมติดตั้งชุดโคมส่องสว่างถนนแบบโซล่าเซลล์ในพื้นที่เพื่อความปลอดภัยของประชาชน จำนวน 2, 000 ชุด งบประมาณ 126, 000, 000 บาท 2.

Pantip

ที่ไม่ได้มอบให้ท้องถิ่นดำเนินการ ท้องถิ่นจึงไม่มีอำนาจซ่อมแซมแทนได้ ประกอบกับไม่มีงบประมาณสนับสนุน และไม่มีองค์ความรู้ในการดำเนินการ เพราะช่างขององค์กรปกครองท้องถิ่นซ่อมเป็นแต่ไฟฟ้า ไม่รู้เรื่องโซลาร์เซลล์ นอกจากนั้นชาวบ้านยังไม่รู้ว่าเป็นโครงการของ ศอ. ทำให้เมื่อไฟดับ ก็จะมาร้องเรียนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ้างก็กล่าวหาว่าท้องถิ่นทุจริต ทั้งๆ ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างเลยแม้แต่น้อย "ชาวบ้านร้องเรียนเยอะ คิดว่าเป็นของ อบต. หรือไม่ก็เทศบาล เพราะเขาไม่ได้ติดสติ๊กเกอร์ว่าเป็นของ ศอ. ทำให้ท้องถิ่นเป็นจำเลย ถูกร้องเรียนว่าซื้อของไม่มีคุณภาพมาให้ชาวบ้าน เราก็ไม่รู้เทคโนโลยีว่าเป็นของที่ไหน ที่ผ่านมาเมื่อมันเสีย เขาก็ส่งช่างมาซ่อม แต่ซ่อมแล้วบางตัวก็ดับต่อ และไม่ได้ซ่อมทั้งหมด เลือกซ่อมแค่บางจุด" "ผมคุยกับเพื่อนๆ ที่เป็นผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นด้วยกัน บอกได้เลยว่าภาพรวมสามจังหวัดเป็นแบบนี้หมด คือถ้าไม่ดับไปเลย ก็กระพริบสัก 1 เดือน จากนั้นก็ดับ เรื่องของเรื่องคือไม่ได้โอนให้ท้องถิ่น ถ้าคุยกันก่อน ส่งคนมาอบรมเจ้าหน้าที่ ให้เราซ่อมเป็น เรามีรถกระเช้าขึ้นไปดูแลได้ แต่เมื่อ ศอ.

ประยุทธ์ ในฐานะนายกรัฐมนตรี (นายกฯเป็นผู้อำนวยการโดยตำแหน่งของทั้ง 2 หน่วยงาน) มีจำนวนเงินถึง 1, 232 ล้านบาท จากข้อมูลที่ได้รับพบว่ามีปัญหาการจัดซื้อจัดจ้า งและปัญหาของอุปกรณ์ ตลอดจนปัญหาการตรวจรับโครงการเป็นจำนวนมาก ตามที่ นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ ส. เชียงราย พรรคเพื่อไทย ได้อภิปรายในสภา ซึ่งเชื่อได้ว่าจะต้องมีการทุจริตอีกเป็นจำนวนมาก จึงขอเรียกร้องให้ สตง. หรือสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และ ป. ป. ช. หรือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เข้าไปตรวจสอบทุกโครงการที่มีการใช้เงิน โดยเฉพาะโครงการของ กอ. ที่ปรากฏการทุจริตอย่างเห็นได้ชัดแล้ว จากควันหลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจทั้งในและนอกสภา "ทีมข่าวอิศรา" จึงลงพื้นที่ตรวจสอบโครงการโซลาร์เซลล์ชายแดนใต้ ซึ่งมีทั้งไฟส่องสว่าง และตู้กรองน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ พบว่าโครงการที่เกี่ยวกับโซลาร์เซลล์ในพื้นที่ ไม่สามารถตอบโจทย์การช่วยเหลือชาวบ้านได้อย่างแท้จริง และไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ทีมข่าวฯ ลงพื้นที่ตรวจสอบตู้กรองน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ บริเวณหมู่ 2 ต. ลำพญา อ. เมือง จ. ยะลา และเสาไฟฟ้าส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์ ในท้องที่ หมู่ 1 บ้านเหนือ ต.

สำรวจโซลาร์เซลล์ชายแดนใต้ "ตู้กรองน้ำ-เสาไฟ" ชำรุดเสียหายทุกพื้นที่ (มีคลิป)

  • บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ข่าว | ข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
  • โคมไฟหัวเสาโซล่าเซลล์ ทรงสี่เหลี่ยม Classic (XML-H30) - YouTube
  • โครงการ เสา ไฟ โซ ล่า เซลล์ pantip
  • Civic type r 2015 ราคา
  • ห้อง พัก ถูก ๆ ใกล้ ฉัน
  • ถ้า จ่าย บัตร เครดิต ขั้น ต่ำ ราคา
  • เปิดข้อมูล เสาไฟกินรี อบต.ราชาเทวะ หลังเจอแฉยับ ฟาดงบกว่า 461 ล้านบาท!
  • Trek madone slr 6 disc ราคา 6

เผยมติ ป. ป. ช. ชี้มูลความผิดคดีอาญา จนท. รัฐ ซี 7 – พวก 3 ราย ทำโครงการเสาโซลาร์เซลล์พันล้าน ศอ. บต. หลังทีมข่าวอิศรา ตีข่าวช่วงปี 60 สำนักข่าวอิศรา () รายงานว่า เมื่อเร็ว ๆ นี้ ที่ประชุมคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ) มีมติชี้มูลความผิดเจ้าหน้าที่รัฐและผู้เกี่ยวข้องกับโครงการโคมไฟส่องสว่างโซลาร์เซลล์ให้กับศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ( ศอ. ) โดยมีโครงการจัดซื้อจัดจ้างและติดตั้งรวม 6 สัญญาใช้งบประมาณ 1, 011, 916, 500 บาท เป็นทางการแล้ว โดยมีผู้ถูกกล่าวหา จำนวน 4 ราย เป็นเจ้าหน้าที่รัฐ ระดับ ซี 7 จำนวน 1 ราย กระทำความผิดทางอาญา ตามมาตรา 149 และ 157 ส่วนผู้เกี่ยวข้องที่เหลืออีก 3 ราย ถูกชี้มูลฐานเป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงานกระทำความผิด อย่างไรก็ดี ผู้ถูกกล่าวหาทั้งหมดในคดีนี้ ยังมีสิทธิ์ต่อสู้คดีเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ในชั้นศาลได้อีก สำหรับกรณีนี้ ทีมข่าวอิศรา เคยติดตามตรวจสอบข้อมูลเชิงลึกในช่วงปี 2560 พบว่าโครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างแบบโซลาร์เซลล์ ของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือ ศอ. ได้รับงบประมาณอุดหนุนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปลายปี 2557 ต่อเนื่องถึงปี 2559 เท่าที่ "ทีมข่าวอิศรา" ตรวจสอบพบจากเอกสาร มีทั้งสิ้น 6 โครงการด้วยกัน คือ 1.

โคมไฟหัวเสาโซล่าเซลล์ ทรงสี่เหลี่ยม Classic (XML-H30) - YouTube

เปิดข้อมูล เสาไฟกินรี พร้อมโคมไฟโซล่าเซลล์ ของ อบต. ราชาเทวะ หลังเจอเพจดังแฉยับ ฟาดงบกว่า 461 ล้านบาท! หรือต้นละราว ๆ 94, 000 บาท ติดตามถนนลูกรัง แถมข้างทางมีแต่โพรงหญ้า? จากรณีเมื่อวันที่ 5 มิถุนายนที่ผ่านมา ได้มีแฟนเพจเฟซบุ๊กชื่อว่า ต้องแฉ ออกมาโพสต์ถึงข้อสงสัยต่องบประมาณ " เสาไฟกินรี " ที่บริษัทรายเดียว ฟาดไป 7 สัญญา งบกว่า 461 ล้านบาท โดยทางเพจระบุข้อความว่า มีแฟนเพจต้องแฉส่งมาบอกเราว่า ฝากดูเคสนี้หน่อย คนต่างพากันสงสัยว่าในซอยเล็ก ๆ แถมข้างทางมีแต่โพรงหญ้า และยังเป็นถนนลูกรังอีกด้วย จำเป็นต้องมีเสาโคมไฟกินรีขนาดนี้เลยเหรอ ต่อมามีผู้ให้ข้อมูลว่า คือ โครงการเสาไฟประติมากรรมกินรี พร้อมโคมไฟโซล่าเซลล์ ที่ อบต. ราชาเทวะ #จังหวัดสมุทรปราการ เป็นผู้รับผิดชอบ และเมื่อทางเพจได้ทำการค้นหาคำว่า " เสาไฟประติมากรรมกินรีพร้อมโคมไฟ " ในเว็บไซต์ ACT Ai พบว่ามีประมาณ 7 โครงการ (เฉพาะของปีงบประมาณ 2562- 2564) ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. ราชาเทวะ และที่น่าสนใจคือ บริษัท บางกอกไฟถนน จำกัด เป็นผู้รับจ้างรายเดียวทั้ง 7 โครงการ!! (การจัดซื้อเป็นแบบ e-bidding ไม่ใช่เฉพาะเจาะจง) วงเงินแต่ละโครงการก็เป็น ร้อยล้าน สิบล้าน ลองคำนวณแล้ว 7 สัญญา เรียกได้ว่าฟาดเรียบไปกว่า 461 ล้านบาทเลยทีเดียว อย่างไรก็ตาม ล่าสุดเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ก็ได้มีเพจเฟซบุ๊ก ชมรมSTRONGต้านทุจริตประเทศไทย ออกมาโพสต์เปิดข้อมูลเสาไฟกินรี อบต.

ทำให้เมื่อไฟดับ ก็จะมาร้องเรียนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ้างก็กล่าวหาว่าท้องถิ่นทุจริต ทั้งๆ ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างเลยแม้แต่น้อย ขณะที่ นายพิทยา รัตนพันธ์ ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศอ. ในขณะนั้น ชี้แจงว่า โคมไฟส่องสว่างแบบโซล่าเซลล์ที่ติดๆ ดับๆ ขึ้นอยู่กับหลายสภาวะแวดล้อม ทั้งเรื่องดินฟ้าอากาศ และอีกกว่า 70% พบว่าแบตเตอรี่สูญหายจากการโดนขโมย โดยขณะนี้ได้ดำเนินการจับกุมผู้ที่ลักลอบขโมยแล้ว "ส่วนใหญ่ที่ไฟติดๆ ดับๆ เราพบว่าแบตเตอรี่สูญหาย โดนขโมย ซึ่งเราได้มีการติดตามจับกุมและดาเนินคดีแล้ว 2 ราย เป็นบุคคลนอกพื้นที่ อาศัยอยู่ที่ ต. ลำใหม่ เมืองยะลา และ ต. โกตาบารู อ. รามัน จ. ยะลา ทั้ง 2 คดีฟ้องศาลไปแล้ว" สำหรับจำนวนเสาไฟโซลาร์เซลล์ที่เสีย นายพิทยา บอกว่า ศอ. ได้รวบรวมพื้นที่และจำนวนเสาไฟที่แจ้งชำรุดใช้การไม่ได้ในเบื้องต้นจากที่ชาวบ้านแจ้งผ่านสายด่วน 1880 ของ ศอ. พบว่ามีจำนวน 531 จุด เป็นการสำรวจล่าสุดเมื่อสิ้นเดือนที่ผ่านมานี้เอง สาเหตุส่วนใหญ่เพราะแบตเตอรี่สูญหาย และขณะนี้ได้เร่งดำเนินการซ่อมแซมแล้ว ไม่ได้นิ่งนอนใจ พร้อมลงพื้นที่ตรวจสอบเสาไฟที่ชำรุดเพิ่มเติม ทั้งนี้กระบวนการอาจล่าช้าไปบ้างตามระเบียบของทางราชการในการจัดหางบประมาณในการซ่อมแซม โดยใช้งบ 8, 000 บาทต่อเสา 1 ต้น ซึ่งเป็นการซื้อแบตเตอรี่ "กระบวนการทั้งหมด ศอ.

ติดตั้งเสาไฟโซล่าเซลล์

โครงการติดตั้งเสาไฟฟ้าพร้อมโคมส่องสว่างโซล่าเซลล์ในศาสนสถานและสถานที่ฝังศพ เผาศพ จำนวน 3, 484 ชุด งบประมาณ 219, 492, 000 บาท 3. โครงการสนับสนุนการติดตั้งโคมไฟฟ้าส่องสว่างระบบโซล่าเซลล์ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 1, 500 ชุด งบประมาณ 94, 500, 000 บาท 4. โครงการติดตั้งโคมไฟถนนแอลอีดีด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อความมั่นคงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 3, 365 ชุด งบประมาณ 212, 000, 000 บาท 5. โครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ พร้อมหลอดประหยัดพลังงานชนิดแอลอีดี เพื่อความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 4, 500 ชุด งบประมาณ 270, 000, 000 บาท 6. โครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างแบบโซล่าเซลล์ จำนวน 1, 555 ชุด งบประมาณ 89, 924, 500 บาท รวมงบประมาณทั้งจัดซื้อและติดตั้งทั้งสิ้น 1, 011, 916, 500 บาท โดยเป็นการติดตั้งโคมไฟฟ้าส่องสว่างด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ หรือโซล่าเซลล์ 14, 849 ชุด ราคาโดยเฉลี่ยชุดละ 63, 000 บาท มีศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศอ. เป็นหน่วยงานรับผิดชอบโครงการ และทั้งหมดเป็นการจัดจ้างด้วยวิธีพิเศษ ต่อมามีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาตรวจสอบข้อเท็จจริงหลังมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหาการชำรุดเสียหาย พบว่าการจัดซื้อจัดหามีความหละหลวม ตัวโครงการไม่คุ้มค่า อุปกรณ์ชำรุดเสียหาย และใช้การไม่ได้ถึง 70% (อ่านประกอบ: ศอ.

ไม่ได้ถ่ายโอนงานมา เราก็ไม่มีอำนาจไปซ่อม ถ้าจะให้ถูกต้อง ศอ. ต้องเรียกท้องถิ่นมาทำเอ็มโอยู และสอนช่างท้องถิ่นได้รับทราบ รวมทั้ง ศอ. ต้องมอบงบประมาณในการดูแลรักษาด้วย" ล่าสุดจากการตรวจสอบของ "ทีมข่าวอิศรา" พบว่าในปีงบประมาณ 2560 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศอ. ได้ตั้งงบประมาณสำหรับซ่อมแซมเสาไฟโซลาร์เซลล์แล้ว วงเงิน 4, 248, 000 บาท โดยเบื้องต้นจะมีการซ่อมแซม 531 ต้น ราคาต้นละ 8, 200 บาท

ราชาเทวะ เช่นเดียวกัน โดยระบุว่ามีค่างบประมาณอยู่ที่ต้นละ 94, 000 บาท! โดยโพสต์รายละเอียดว่า จากกรณีสำนักข่าวอิศรา และเพจต้องแฉ นำเสนอพิรุธโครงการจัดซื้อเสาไฟประติมากรรมกินรี ของ อบต. ราชาเทวะ จ. สมุทรปราการ ที่มีประเด็นคุ้มค่าหรือไม่เนื่องจากติดตั้งซะถี่ยิบ ทางชมรมฯ ได้ตรวจสอบข้อมูลเชิงลึกพบว่าระหว่างปีงบประมาณ 2562-2564 อบต.

โครงการจัดซื้อพร้อมติดตั้งชุดโคมส่องสว่างถนนแบบโซล่าเซลล์ในพื้นที่เพื่อความปลอดภัยของประชาชน จำนวน 2, 000 ชุด งบประมาณ 126, 000, 000 บาท 2. โครงการติดตั้งเสาไฟฟ้าพร้อมโคมส่องสว่างโซล่าเซลล์ในศาสนสถานและสถานที่ฝังศพ เผาศพ จำนวน 3, 484 ชุด งบประมาณ 219, 492, 000 บาท 3. โครงการสนับสนุนการติดตั้งโคมไฟฟ้าส่องสว่างระบบโซล่าเซลล์ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 1, 500 ชุด งบประมาณ 94, 500, 000 บาท 4. โครงการติดตั้งโคมไฟถนนแอลอีดีด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อความมั่นคงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 3, 365 ชุด งบประมาณ 212, 000, 000 บาท 5. โครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ พร้อมหลอดประหยัดพลังงานชนิดแอลอีดี เพื่อความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 4, 500 ชุด งบประมาณ 270, 000, 000 บาท 6. โครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างแบบโซล่าเซลล์ จำนวน 1, 555 ชุด งบประมาณ 89, 924, 500 บาท รวมงบประมาณทั้งจัดซื้อและติดตั้งทั้งสิ้น 1, 011, 916, 500 บาท โดยเป็นการติดตั้งโคมไฟฟ้าส่องสว่างด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ หรือโซล่าเซลล์ 14, 849 ชุด ราคาโดยเฉลี่ยชุดละ 63, 000 บาท มีศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศอ.