ห รม ค รน ป 6

น้องๆ หลายคนมักมีปัญหากับการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ใช่หรือไม่คะ บทความนี้ได้รวบรวม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. ร. ม. และ ค. น. พร้อมทั้งแสดงวิธีทำอย่างละเอียด ซึ่งจะทำให้น้องๆมองโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์์เป็นเรื่องง่ายดาย ทั้งนี้ น้องๆอย่าลืมทบทวนวิธีการหา ห. ป. 6 กันด้วยนะคะ รวมถึงทบทวน ตัวประกอบของจำนวนนับ ด้วยนะคะ แต่ก่อนจะไปวิเคราห์โจทย์ปัญหาเรามาทบทวนวิธีการหา ห. กันก่อนคะ ตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห. ) ของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป คือ ตัวประกอบร่วม ที่มีค่ามากที่สุดที่สามารถหารจำนวนทั้งหมดเหล่านั้นได้ลงตัว มีวิธีการหา ห. 3 วิธี ด้วยกัน คือ การพิจารณาตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ และการตั้งหาร ห. สามารถนำไปใช้ในการทอนเศษส่วน ให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ และนำไปใช้แบ่งสิ่งของที่มีจำนวนไม่เท่ากันออกเป็นส่วนที่เท่ากันและ ให้มีค่ามากที่สุด โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. ม. โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการนำความรู้เรื่อง ห. ไปใช้แก้ปัญหา ตัวอย่างที่ 1 ทหาร 3 กอง กองละ 78, 91 และ 104 คน ตามลำดับ ถ้าแบ่งทหารออกเป็นหมู่ ๆ ละเท่ากัน จะได้ทหาร มากที่สุด หมู่ละกี่คน (มีคีย์เวิร์ด คำว่า มากที่สุด ตัวอย่างที่ 1 จึงแก้ปัญหาโดยใช้ ห. )

วิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ป.6 เรื่อง ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) - YouTube

ห รม ค รน ป 6.2 ห รม ค รน ป 6.7

คณิตศาสตร์ ป. 6 บทที่ 1 ห. ร. ม. และ ค. น. (โจทย์ปัญหา ห. ตอนที่ 2) - YouTube

คลิป สอน ฟรี โจทย์ปัญหา ค.ร.น. และ ห.ร.ม. ป.6 - YouTube

ห รม ค รน ป 6.0

วิธีทำ ตัวที่ 1 ใช้เวลา 10 วินาที ตัวที่ 2 ใช้เวลา 15 วินาที ตัวที่ 3 ใช้เวลา 20 วินาที จิ้งหรีด 3 ตัวจะร้องพร้อมกันอีกกี่นาทีต่อไป โดยการหา ค. ของ 10, 15 และ 20 หา ค. ของ 10, 15 และ 20 5) 10 15 20 2) 2 3 4 1 3 2 ค. ของ 10, 15 และ 20 คือ 5 x 2 x 1 x 3 x 2 = 60 ดังนั้น อีก 60 วินาที หรืออีก 1 นาที จิ้งหรีดทั้ง 3 ตัวจึงจะร้องพร้อมกันเป็นครั้งที่สอง น้องๆทราบหรือไม่ว่า โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ค. มักมีคำว่า "น้อยที่สุด" หรือ "พร้อมกัน" ปรากฎอยู่ในโจทย์ ซึ่งเป็นคีย์เวิร์ดสำคัญในการแก้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. ม. สรุปวิธีการแก้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. น. วิธีการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. ง่ายนิดเดียว เพียงแค่น้องๆจำ คีย์เวิร์ดสำคัญได้ เช่น "น้อยที่สุด" หรือ "พร้อมกัน" จะปรากฎอยู่ในโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ค. ส่วนคีย์เวิร์ดสำคัญคำว่า "มากที่สุด" หรือ " ยาวที่สุด" จะ ปรากฎอยู่ใน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. เมื่อน้องวิเคราห์โจทย์ปัญหาได้แล้วว่าจใช้ ค. หรือ ห. ในการแก้โจทย์ปัญหา ลำดับต่อไปคือ น้องๆจะต้องใช้ความรู้ในเรื่อง ห. 6 ที่ได้เรียนผ่านมาแล้ว วิดีโอ โจทญ์ปัญหา ห. น.

  • คณิตศาสตร์ ป.6 บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. (โจทย์ปัญหา ห.ร.ม.และ ค.ร.น. ตอนที่ 2) - YouTube
  • Heineken 0% ถูกที่สุด พร้อมโปรโมชั่น - ต.ค. 2021 | BigGo เช็คราคาง่ายๆ
  • ห รม ค รน ป 6.1
  • ป ป ส ภาค 9 โทร
  • Nike flex rn 2018 ดี ไหม full
  • Honda accord 2008 แต่ง สวย

การหา หรม.และ ครน. โดยการหารสั้น - YouTube

00 น. จงหาเวลาที่จะตี พร้อมกัน อีกเป็นครั้งที่สอง (มีคีย์เวิร์ด คำว่า พร้อมกัน ตัวอย่างที่ 5 จึงแก้ปัญหาโดยใช้ ค. ) วิธีทำ ระฆังสามใบ ๆ ที่หนึ่งตีทุก ๆ 8 นาที ใบที่สองตีทุก ๆ 14 นาทีและใบที่สามตีทุก ๆ 20 นาที จะหาเวลาที่จะตีพร้อมกันอีกเป็นครั้งที่สอง โดยหา ค. ของ 8, 14 และ 20 2) 8 14 20 2) 4 7 10 2 7 5 ค. ของ 8, 14 และ 20 คือ 2 x 2 x 2 x 7 x 5 = 280 นั่นคือ เมื่อเวลาผ่านไป 280 นาที หรือคิดเป็น 4 ชั่วโมง 40 นาที ระฆังจะตีพร้อมกันรอบที่สอง ดังนั้น ระฆังทั้งสามใบ จะตีพร้อมกันอีกเป็นครั้งที่สอง เมื่อเวลา 12. 40 น. ตัวอย่างที่ 6 จงหาจำนวนนับที่ น้อยที่สุด ซึ่งหารด้วย 6, 8 และ 10 แล้วเหลือเศษ 3 ทุกจำนวน (มีคีย์เวิร์ด คำว่า น้อยที่สุด ตัวอย่างที่ 6 จึงแก้ปัญหาโดยใช้ ค. ) วิธีทำ จำนวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 6, 8 และ 10 ได้ลงตัว คือ ค. ของ 6, 8 และ 10 หา ค. ของ 6, 8 และ 10 ได้ดังนี้ 2) 6 8 10 3 4 5 ค. ของ 6, 8 และ 10 คือ 2 x 3 x 4 x 5 = 120 ดังนั้น จำนวนนับที่น้อยที่สุดซึ่งหารด้วย 6, 8 และ 10 แล้วเหลือเศษ 3 คือ 120 + 3 = 123 ตัวอย่างที่ 7 จิ้งหรีด 3 ตัวใช้เวลา 10, 15 และ 20 วินาที จึงจะร้องครั้งหนึ่งตามลำดับ ถ้าจิ้งหรีดร้องพร้อมกันครั้งหนึ่งแล้วอีกนานเท่าใดจึงจะร้อง พร้อมกัน อีกเป็นครั้งที่สอง (มีคีย์เวิร์ด คำว่า พร้อมกัน ตัวอย่างที่ 7 จึงแก้ปัญหาโดยใช้ ค. )

วิชาคณิตศาสตร์ ชั้น ป. 6 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห. ร. ม. และ ค. น. - YouTube

วิธีทำ แบ่งทหารออกเป็นหมู่ ๆ ละเท่า ๆ กันและให้ได้ทหารมากที่สุด นั่นคือหา ห. ของ 78, 91 และ 104 หา ห. ของ 78, 91 และ 104 จะได้ 13) 78 91 104 6 7 8 ห. ของ 78, 91 และ 104 คือ 13 ดังนั้น จะแบ่งทหารได้มากที่สุดหมู่ละ 13 คน ตัวอย่างที่ 2 มีฝรั่ง 48 ผล ชมพู่ 84 ผล และส้ม 60 ผล ต้องการแบ่งผลไม้ออกเป็นกอง ๆ ละเท่า ๆ กัน ให้แต่ละกองมีจำนวน มากที่สุด และไม่เหลือเศษ โดยที่ผลไม้แต่ละชนิดไม่ปะปนกัน จะแบ่งผลไม้เหล่านี้ได้ทั้งหมดกี่กอง (มีคีย์เวิร์ด คำว่า มากที่สุด ตัวอย่างที่ 2 จึงแก้ปัญหาโดยใช้ ห. ) วิธีทำ มีฝรั่ง 48 ผล ชมพู่ 84 ผล และส้ม 60 ผล ต้องการแบ่งผลไม้ออกเป็นกอง ๆ ละเท่าๆ กัน ให้แต่ละกองมีจำนวนมากที่สุดและไม่เหลือเศษ นั่นคือหา ห. ของ 48, 84 และ 60 หา ห. ของ 48, 84 และ 60 จะได้ 3)48 84 60 2) 16 28 20 2) 8 14 10 4 7 5 นั่นคือ ห. ของ 48, 84 และ 60 คือ 3 x 2 x 2 = 12 ดังนั้น จะต้องแบ่งผลไม้ออกเป็นกอง กองละ 12 ผล เท่า ๆ กัน จะแบ่งฝรั่งที่มี 48 ผล ออกเป็นกอง ๆ ละ 12 ผล เท่า ๆ กันได้ 48 ÷ 12 = 4 กอง จะแบ่งชมพู่ที่มี 8 4 ผลออกเป็นกอง ๆ ละ 12 ผล เท่า ๆ กันได้ 8 4 ÷ 12 = 7 กอง จะแบ่งส้มที่มี 60 ผลออกเป็นกอง ๆ ละ 12 ผล เท่า ๆ กันได้ 60 ÷ 12 = 5 กอง เพราะฉะนั้นจะแบ่งผลไม้แต่ละชนิดโดยไม่ปะปนกันได้ทั้งหมด 4 + 7 + 5 = 16 กอง ตัวอย่างที่ 3 จงหาจำนวนนับที่ มากที่สุด ที่หาร 267, 168 และ 201 แล้วเหลือเศษ 3 เท่ากัน (มีคีย์เวิร์ด คำว่า มากที่สุด ตัวอย่างที่ 3 จึงแก้ปัญหาโดยใช้ ห. )