การ ปฐมพยาบาล ผู้ ประสบ อันตราย จาก ไฟฟ้า ดูด

ผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าดูดถ้าหากหมดสติไม่รู้สึกตัว หัวใจหยุดเต้นและไม่หายใจ สังเกตได้จากอาการที่เกิดขึ้นดังนี้ ริมฝีปากเขียว สีหน้าซีดเขียวคล้ำ ทรวงอกเคลื่อนไหวน้อยมากหรือไม่เคลื่อนไหว ชีพจรเต้นช้าและเบามาก หากหัวใจหยุดเต้นจะคล้ำชีพจรไม่พบม่านตาขยายค้างไม่หดเล็กลง การหมดสติต้องรีบให้การปฐมพยาบาลทันที เพื่อให้ปอดและหัวใจทำงาน โดยวิธีผายปอดด้วยการให้ลมหายใจทางปากหรือเรียกว่าการเป่าปาก รวมกับการนวดหัวใจก่อนนำผู้ป่วยส่งแพทย์ การปฏิบัติมีดังนี้ การผายปอดโดยวิธีให้ลมหายใจทางปาก (เป่าปาก) 1. ให้ผู้ป่วยนอนราบ จัดท่าที่เหมาะสมเพื่อเปิดทางให้อากาศเข้าสู้ปอดได้สะดวก โดยผู้ปฐมพยาบาลอยู่ทางด้านขวาหรือด้ายซ้ายบริเวณศีรษะของผู้ป่วย ใช้มือข้างหนึ่งดึงค้างผู้ป่วยหรือดันใต้คอพร้อมกับใช้มืออีกข้างหนึ่งดันหน้าผากให้แหงนขึ้น เป็นวิธีป้องกันไม่ให้ลิ้นตกไปอุดปิดทางเดินหายใจ และต้องระมัดระวังไม่ให้นิ้วมือที่ดึงคางนั้นกดลงไปในส่วนของเนื้อใต้คางเพราะจะทำให้อุดกั้นทางเดินหายใจได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็กแรกเกิดไม่ควรหงายคอมากเกินไป เพราะอาจทำให้หลอดลมแฟบและอุดตันทางเดินหายใจได้ 2. สอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในปากผู้ป่วย จับขากรรไกรล่างยกขึ้นจนปากอ้าออก 3.

การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกไฟดูด - การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

วิธีปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูดเบื้องต้น

ยืม เงิน ผ่าน แอ ป ios

การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูด | jocelynza

  1. Chapter one eco ห้วยขวาง pantip 12
  2. EVE โคมไฟเพดาน LED Sphere | ร้านพีโอวัสดุก่อสร้าง
  3. ข้อควรระวังในขณะช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูด - สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มช.
  4. เสา อากาศ ครีบ ฉลาม isuzu
  5. Www citi rewards com แลก ของ รางวัล -

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น กรณีเกิดไฟฟ้าช็อตในโรงงาน | Modern Manufacturing

เพลง สากล ที่ มี ความ หมาย ดีๆ

ไฟฟ้าเบื้องต้น: การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูด

ซื้อ แพ็ก เก จ เสริม ท รู ราย เดือน

ตามปกติแล้วไฟฟ้าจะไหลไปตามเส้นลวดที่เป็นตัวนำไฟฟ้าแล้วจะไหลติดต่อกันไปจนครบวงจรและถ้าหากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไปแตะหรือสัมผัสเข้ากับวงจรไฟฟ้าทำให้ไฟฟ้าไหลผ่านได้และร่างกายเราก็จะเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า ทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายหรือบาดเจ็บถึงชีวิตได้ ซึ่งกระแสไฟฟ้าเพียงแค่ 10 mAหรือแรงดันไฟฟ้า 25 Vก็อาจทำให้เป็นอันตรายต่อชีวิต ค่าความต้านทานของร่างกายมนุษย์จะมีค่าประมาณ 10, 000 โอห์ม ถึง 50, 000 โอห์ม กระแสไฟฟ้าไหลเกิน(Over Current) กระแสไฟฟ้าไหลเกิน หมายถึง สภาวะของกระแสที่ไหลผ่านตัวนำจนเกินพิกัดที่กำหนดไว้เกิดได้2 ลักษณะคือ 1. โหลดเกิน(Over Load) หมายถึงกระแสไหลในวงจรปกติแต่นำอุปกรณ์ที่กินกำลังไฟสูงหลายๆชุดมาต่อในจุดเดียวกันทำให้กระแสไหลรวมกันเกินกว่าที่จะทนรับภาระของโหลด 2. การลัดวงจร(Short Circuit) หรือไฟฟ้าช๊อตเกิดจากฉนวนชำรุดทำให้เกิดสายที่มีไฟ(Line)และสายดิน(Ground) สัมผัสถึงกันมีผลทำให้เกิดความร้อนฉนวนที่ห่อหุ้มลวดตัวนำจะลุกไหม้ในที่สุด อันตรายของวงจรไฟฟ้ามีองค์ประกอบ 3 อย่าง 1. กระแสไฟฟ้า คือ จำนวนกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกายถ้ากระแสไฟฟ้าต่ำอันตรายก็อันตรายน้อยแต่ถ้ากระแสไฟฟ้าสูงขึ้นก็เป็นอันตรายมากขึ้นจนถึงระดับหนึ่งอาจจะเสียชีวิตได้ 2.

0 2613 0123 (ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง), แจ้งอุบัติเหตุสายด่วน โทร. 1309 *เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทฯ กำหนด **ผู้ซื้อควรทำความเข้าใจในรายละเอียดความคุ้มครองและเงื่อนไขก่อนตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง แหล่งข้อมูล อันตรายจากไฟดูด ไฟช๊อต ลดความเสี่ยงจากไฟฟ้าดูดในเด็ก และวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้น 12 วิธีป้องกันไฟฟ้าดูดในช่วงฤดูฝน ก่อนเกิดอันตรายกับคนในบ้าน