การ คัด แยก ขยะ แต่ละ ประเภท

  1. หอพัก ราคา ถูก ใน ขอนแก่น
  2. การคัดแยกขยะ 3r
  3. ได ร์ เป่า ผม philips bhd004 รีวิว
  4. ไล ทอ ป คือ อะไร reaction
  5. ตัว เขียน ภาษา อังกฤษ az
  6. รถยี่ห้อ nissan ทั้งหมด - รถมือสองฟรีดาวน์.com
  7. โคม ดาวน์ ไล ท์ 8 นิ้ว philips lighting

แนวทางและข้อกำหนดเบื้องต้น การลดและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย. 1, 000 เล่ม, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: 2548. ประเภทของขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอย สามารถแบ่งตามลักษณะทางกายภาพของขยะได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. ขยะย่อยสลาย (Compostable waste) หรือ มูลฝอยย่อยสลาย คือ ขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนำมาหมักทำปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเนื้อสัตว์ เป็นต้น แต่จะไม่รวมถึงซากหรือเศษของพืช ผัก ผลไม้ หรือสัตว์ที่เกิดจากการทดลองในห้องปฏิบัติการ โดยที่ขยะย่อยสลายนี้เป็นขยะที่พบมากที่สุด คือ พบมากถึง 64% ของปริมาณขยะทั้งหมดในกองขยะ 2. ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste) หรือ มูลฝอยที่ยังใช้ได้ คือ ของเสียบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น แก้ว กระดาษ เศษพลาสติก กล่องเครื่องดื่มแบบ UHT กระป๋องเครื่องดื่ม เศษโลหะ อะลูมิเนียม ยางรถยนต์ เป็นต้น สำหรับขยะรีไซเคิลนี้เป็นขยะที่พบมากเป็นอันดับที่สองในกองขยะ กล่าวคือ พบประมาณ 30% ของปริมาณขยะทั้งหมดในกองขยะ 3.

| วันที่ 04 กรกฎาคม 2562 | อ่าน: 80, 931 ที่มา: หนังสือ ทิ้งได้ถูกต้อง ช่วยโลกได้ถูกทาง โดย สสส. แฟ้มภาพ เราต้องรู้จักประเภทของขยะก่อน เพื่อที่จะสามารถคัดแยกขยะก่อนทิ้งได้ ขยะปัจจุบันมีอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ ถังขยะเปียก/ย่อยสลายง่าย ถังขยะทั่วไป ถังขยะรีไซเคิล และถังขยะอันตราย 1. ถังขยะเปียก/ย่อยสลายง่าย หากไม่แยก: การทิ้งถุงพลาสติก โลหะ แก้ว มูลสัตว์ลงไปรวมกับขยะย่อยสลายง่าย จะยากต่อการนำไปใช้ประโยชน์ต่อ จะไม่สามารถนำเศษผักผลไม้และเศษอาหารไปทำปุ๋ยและน้ำหมักจุลินทรีย์ (EM) ได้ คัดแยกเศษอาหารออกจากขยะที่เป็นเศษกิ่งไม้ใบไม้ ซึ่งสามารถนำไปทำปุ๋ยหมักได้ หากขยะมีลักษณะแหลมมาก อย่างเช่น ไม้ลูกชิ้น ให้หักก่อนทิ้ง จัดหาภาชนะที่มีฝาปิด เพื่อไม่ให้สัตว์นำเชื้อโรคเข้าไปแพร่เชื้อ 2. ขยะทั่วไป หากไม่แยก: ขยะทั่วไปส่วนใหญ่จะถูกนำไปฝังลกลบเพราะไม่คุ้มค่าที่จะนำไปใช้ซ้ำ หรือรีไซเคิลได้ ดังนั้น เมื่อจะแยกก็ต้องแยกออกมาชัดเจน ห้ามทิ้งเศษอาหาร ขยะรีไซเคิล และขยะจากสวนลงไปรวมกับขยะทั่วไป 3. ถังขยะรีไซเคิล หากไม่แยก: ทำให้เสียทรัพยากรที่ใช้ซ้ำได้ไปอย่างเปล่าประโยชน์ อีกทั้งเจ้าหน้าที่นำขยะไปคัดแยกเองได้ล่าช้า สิ้นเปลืองพลังงาน แยกชนิด สี ประเภทของขยะรีไซเคิลออกจากกันเพื่อสะดวกในการใช้งานหรือขยาย ขยะรีไซเคิลบางชนิดทำให้แบนได้ เพื่อประหยัดเนื้อที่และเก็บได้สะดวก แยกขยะรีไซเคิลที่แตก และสภาพดีออกจากกัน 4.

ลดการใช้ (Reduce) 1. 1 ปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงสิ่งของหรือบรรจุภัณฑ์ที่จะสร้างปัญหาขยะ (Refuse) 1. 1. 1 ปฏิเสธการใช้บรรจุภัณฑ์ฟุ่มเฟือย รวมทั้งขยะที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก หรือขยะมีพิษอื่น ๆ 1. 2 หลีกเลี่ยงการเลือกซื้อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้บรรจุภัณฑ์ห่อหุ้มหลายชั้น 1. 3 หลีกเลี่ยงการเลือกซื้อสินค้าชนิดใช้ครั้งเดียว หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการใช้งานต่ำ 1. 4 ไม่สนับสนุนร้านค้าที่กักเก็บและจำหน่วยสินค้าที่ใช้บรรจุภัณฑ์ฟุ่มเฟือย และไม่มีระบบเรียกคืนบรรจุภัณฑ์ใช้แล้ว 1. 5 กรณีการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประจำบ้านที่ใช้เป็นประจำ เช่น สบู่ ผงซักฟอก น้ำยาล้างจาน ให้เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดบรรจุใหญ่กว่า เนื่องจากใช้บรรจุภัณฑ์น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหน่วยน้ำหนักของผลิตภัณฑ์ 1. 6 ลดหรืองดการบริโภคที่ฟุ่มเฟือย โดยเลือกใช้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับความต้องการ 1. 2 เลือกใช้สินค้าที่สามารถส่งคืนบรรจุภัณฑ์สู่ผู้ผลิตได้ (Return) 1. 2. 1 เลือกซื้อสินค้าหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีระบบมัดจำ – คืนเงิน เช่น ขวดเครื่องดื่มประเภทต่าง ๆ 1. 2 เลือกซื้อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำกลับไปรีไซเคิลได้ หรือมีส่วนประกอบของวัสดุรีไซเคิล เช่น ถุงช๊อปปิ้ง โปสการ์ด 1.

ถังขยะอันตราย หากไม่แยก: อาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรีโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งอาจระเบิดเมื่อเจอความร้อน และหากไม่มัดปากถุงให้เรียบร้อยก็อาจปล่อยสารพิษ แยกขยะอันตรายแต่ละประเภทออกจากกัน ไม่มัดรวมและควรสวมถุงมือเพื่อป้องกันสารพิษ ระวังไม่ให้แตกหักเพราะสารเคมีอาจเข้าสู่ร่างกาย แยกขยะใส่ถุงและไว้ให้ห่างจากห้องครัว พื้นที่ที่มีเด็ก ขยะไมโครพลาสติกมีขนาดเล็กมองไม่เห็น ควรกรองด้วยถุงกรองให้เศษต่างๆรวมกัน

การลดการใช้ หรือการลดขยะจากแหล่งที่เกิด โดยพยายามหลีกเลี่ยงหรือลดการเกิดขยะหรือมลพิษที่เกิดขึ้น เช่นการใช้ถุงผ้าแทน การใช้ถุงพลาสติก 2. การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ซ้ำ เป็นการนำวัสดุของใช้กลับมาใช้ในรูปแบบเดิมหรือนำมาซ่อมแซมใช้ หรือนำมาใช้ทำประโยชน์อื่น ๆ โดยแบ่งได้เป็น 2 ขั้นตอนคือ - ขั้นตอนการผลิตสินค้า พยายามทำให้เกิดเศษวัสดุหรือของเสียน้อยที่สุด - ขั้นตอนการนำของใช้มาใช้ซ้ำ เป็นการยืดอายุการใช้งานก่อนจะนำไปทิ้ง เช่น การนำขวดพลาสติกมาบรรจุน้ำ การใช้กระดาษ 2 หน้า 3. การนำกลับมาผลิตใหม่ เป็นการแยกวัสดุที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ออกจากขยะและรวบรวมใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าขึ้นใหม่หรือเรียกว่า รีไซเคิล 4. การหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุกำจัดยาก เช่น กล่องโฟม การใช้จานหรือแก้วกระดาษ ยาฆ่าแมลง ควรใช้สมุนไพรเป็นสารกำจัด 5. การซ่อมแซมนำกลับมาใช้ใหม่ เป็นการซ่อมแซมวัสดุที่ใช้แล้ว ที่สามารถซ่อมแซมนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น การซ่อมแซมเสื้อผ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด เป็นต้น